รายชื่อคณาจารย์และหัวข้อวิจัย สำหรับการรับนิสิตเข้าศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา พ.ศ. 2568
ชื่ออาจารย์ |
งานวิจัย |
จำนวนนิสิต ที่เปิดรับ (คน) |
ทุนการศึกษา |
ผศ. ดร.สุจินต์ เจนวีรวัฒน์ |
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียว การปรับปรุงพันธุ์งา |
2 คน |
ทุนบางส่วนจากการขอทุนจากหน่วยงานให้ทุน (ค่าทำวิจัย ค่าใช้จ่ายรายเดือน) |
ผศ.ดร.ทรงยศ โชติชุติมา |
1. การศึกษาการติดเมล็ดของหญ้าอาหารสัตว์ลูกผสมสกุล Urochloa |
1 คน |
ทุนทำวิจัยและค่าเทอม |
2. การประเมินการสะสมคาร์บอนในแปลงผลิตพืชอาหารสัตว์เขตร้อน |
1 คน |
||
3. การศึกษาลักษณะการกลายพันธุ์ของหญ้าลูกผสมที่ได้รับการฉายรังสีแกมม่า |
1 คน |
||
4. การคัดเลือกพันธุ์และการจัดการเก็บเกี่ยวหญ้าเขตร้อนที่เหมาะกับการเลี้ยงตั๊กแตนปาทังก้าในฟาร์มผลิตเชิงการค้า |
1 คน |
||
ผศ.ดร.วีรชัย มัธยัสถ์ถาวร |
1. การปรับปรุงพันธุ์ข้าว |
4 คน |
ทุนเต็มจำนวน (ค่าเทอม ค่าทำวิจัย ค่าใช้จ่ายรายเดือน) *สำหรับนิสิตที่จะขอทุนบัณฑิต หรือทุนบางส่วน (ค่าทำวิจัย ค่าใช้จ่ายรายเดือน) |
2. การปรับปรุงพันธุ์ปาล์มน้ำมัน |
|||
3. การปรับปรุงพันธุ์กระท่อม |
|||
4. การปรับปรุงพันธุ์กาแฟ |
|||
ดร.รมิดา กร่ำศรี และ ผศ.ดร.สราวุธ รุ่งเมฆารัตน์ |
1. การจัดการวัชพืชในพืชเศรษฐกิจ |
ปริญญาโท 1 คน |
ทุนบางส่วน (ค่าทำวิจัย ค่าใช้จ่ายรายเดือน) |
2. การเขตกรรมในไร่อ้อยและสับปะรด |
|||
3. การใช้ประโยชน์จากพืชเพื่อควบคุมวัชพืช |
|||
ผศ.ดร.ปาริชาติ พรมโชติ |
Crop Simulation Models (Maize/Peanut/Rice) |
ปริญาเอก 1 คน |
ทุนเต็มจำนวน (ค่าเทอม ค่าใช้จ่ายรายเดือน ค่าทำวิจัย และอื่น ๆ ตามความจำเป็น) |
ผศ.ธนพล ไชยแสน |
การเปลี่ยนแปลงการแสดงออกในระดับยีนและสรีรวิทยาในในโคลนอ้อยกลายพันธุ์ KU58-Tr2-2 |
1 คน |
ค่าทำวิจัย |
ภารดี ธรรมาภิชัย |
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ |
ปริญญาโท 1 คน |
ค่าทำวิจัย + ขอทุนระดับบัณฑิตศึกษาจาก มก. หรือหน่วยงานภายนอก |
ผศ. ดร.ดำรงวุฒิ อ่อนวิมล |
การประเมินคุณภาพเมล็ดพันธุ์พืชไร่เศรษฐกิจแบบไม่ทำลายโดยใช้ปัญญาประดิษฐ์ |
ปริญญาโท 2 คน ปริญญาเอก 1 คน |
ทุนบางส่วน (ค่าเทอม ค่าทำวิจัย) |
รศ. ดร.ภัศจี คงศีล |
ประเมินศักยภาพพันธุ์ทนทานสภาวะแล้งในเชื้อพันธุกรรมมันสำปะหลัง |
1 คน |
ทุนให้ค่าใช้จ่ายรายเดือนบางส่วน และค่าทำวิจัย |
อาจารย์ ดร.อภิเดช รักเป็นไทย |
1. การประเมินหา regulatory elements ในการควบคุมการแสดงออกของยีนที่สร้างโปรตีนในถั่วเหลือง และความหวานในข้าวโพด |
ปริญญาโท 1 คน |
ขอทุนระดับบัณฑิตศึกษาจาก มก. หรือหน่วยงานภายนอก |
2. การศึกษาเชิงบูรณาการทาง metabolomics และ transcriptomics ในพืชไร่ |
ปริญญาเอก 1 คน |
||
ผศ. ดร.วรรณสิริ วรรณรัตน์ |
เพิ่มเติม การประยุกต์ใช้เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช สำหรับการปรับปรุงพันธุ์พืช |
||
ผศ. ดร.ปิยะ กิตติภาดากุล |
การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังด้วยนวัตกรรมใหม่ (สร้าง hybrids จาก inbreds, gene editing, gene discovery) |
1 คน |
ค่าทำวิจัย ค่าใช้จ่ายรายเดือน |
การจัดการพันธุ์เพื่อการผลิตมันสำปะหลังอย่างมีประสิทธิภาพ - Climate Smart Cassava Framing (การใช้ seasonal climate แนะนะการผลิตของมันสำปะหลัง) |
1 คน |
||
การปรับปรุงพันธุ์กัญชาไทย (การคัดเลือกและสร้างพันธุ์กัญชาไทย) |
1 คน |
||
รศ.ธานี ศรีวงศ์ชัย |
การปรับปรุงพันธุ์กัญชา การผลิตกัญชาชาในระบบ PFAL |
2 คน |
ค่าทำวิจัย ค่าใช้จ่ายรายเดือน |