รศ. ดร.เฉลิมพล ภูมิไชย์

อาจารย์
ความเชียวชาญ : การปรับปรุงพันธุ์พืช, Molecular Plant Breeding, Marker Assisted Selection (MAS),
ประวัติการศึกษา:
  • PhD.(Biological Resource Utilization), Kobe University, JAPAN
  • วท.ม. ( เกษตรศาสตร์), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , ไทย
  • วท.บ. ( เกษตรศาสตร์), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , ไทย

ผลงานวิชาการ

ปี พ.ศ. โครงการ บทบาท แหล่งทุน ประเภท สถานะ
2566การพัฒนาเทคนิคในการวิเคราะห์คุณสมบัติของไม้ยางพาราเพื่อคัดเลือกพันธุ์ ผู้ร่วมวิจัย การยางแห่งประเทศไทย ภายนอก อยู่ระหว่างดำเนินการ
2566ศูนย์กลางการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์เกษตรสมัยใหม่สำหรับผลผลิตการเกษตรมูลค่าสูง ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2566การใช้เทคโนโลยีมัลติโอมิกส์สำหรับวิจัยความต้านทานต่อเชื้อไวรัสใบด่างในมันสำปะหลัง ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2566การค้นหาเครื่องหมายโมเลกุลที่ควบคุมลักษณะความหวานในสับปะรดรับประทานสดในประชากร MD2 x ตราดสีทอง ที่ปรึกษาโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2566การประเมินการเจริญเติบโต ผลผลิต และคุณภาพผลผลิตของแบล็กเบอร์รี ที่ปรึกษาโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2565การศึกษากลไกการป้องกันตนเองของมันสำปะหลังที่ถูกกระตุ้นด้วยเชื้อไวรัส Sri Lankan Cassava Mosaic Virus ด้วยเทคโนโลยี RNAseq หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2563การประเมินและจัดกลุ่มโดยใช้ลักษณะสัณฐานทางการเกษตร คุณภาพและผลผลิตของเชื้อพันธุกรรมสตรอว์เบอร์รีเพื่อใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ ที่ปรึกษาโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน ปิดโครงการ
2562การเพิ่มประสิทธิภาพการขยายพันธุ์เร็วต้นพันธุ์ต้านทานโรคใบด่างมันสำปะหลังด้วยระบบเกษตรแม่นยำ ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2562การสร้างชุดต้นแบบเพื่อหาปริมาณน้ำมันที่มีอยู่จริงในทะลายปาล์มสดอย่างรวดเร็วโดยใช้เทคนิคไมโครเวฟร่วมเทคนิคการสกัดน้ำมันทางเคมี ที่ปรึกษาโครงการ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) ภายนอก ปิดโครงการ
2562การสร้างเครื่องไมโครเวฟต้นแบบเพื่อปรับปรุงคุณภาพน้ำมันปาล์มดิบของโรงหีบน้ำมันชุมชน ที่ปรึกษาโครงการ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) ภายใน ปิดโครงการ
2561การพัฒนาชุดตรวจสอบโรคใบด่างมันสำปะหลัง (Cassava mosaic virus disease) ภาคสนาม ผู้ร่วมวิจัย มูลนิธสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ภายนอก ปิดโครงการ
2560การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียวพันธุ์ลูกผสมเดี่ยวเพื่อการบริโภคฝักสด โดยการประเมินคุณภาพการบริโภคจากสมบัติของแป้งร่วมกับการประเมินทางประสาทสัมผัส ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2560การประเมินและการเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้เชื้อพันธุกรรมมันสำปะหลังเพื่อเพิ่มความก้าวหน้าของการปรับพันธ์ุมันสำปะหลัง หัวหน้าโครงการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายนอก ปิดโครงการ
2560การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังอย่างมียุทธศาสตร์ เพื่อเพิ่มผลิตภาพทางผลผลิตและปริมาณแป้งสำหรับการใช้อุตสาหกรรม ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายนอก ปิดโครงการ
2560การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังให้มีไซยาไนต์ต่ำและผลผลิตสูงสำหรับใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหาร ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายนอก ปิดโครงการ
2560โครงการวิจัยมันสำปะหลัง ผู้ร่วมวิจัย มูลนิธิพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ภายนอก ปิดโครงการ
2560การพัฒนาสายพันธุ์พ่อแม่ที่ดีสำหรับการผลิตข้าวลูกผสมระบบ 3 และ 2 สายพันธุื ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) ภายนอก ปิดโครงการ
2559การปรับปรุงพันธุ์ข้าวลูกผสมเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพสำหรับการแปรรูปเชิงอุตสาหกรรม ระยะที่ 2 ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) ภายนอก ปิดโครงการ
2559การพัฒนาสายพันธุ์พ่อแม่ที่ดีสำหรับการผลิตข้าวลูกผสมระบบ 3 และ 2 สายพันธุ์ ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) ภายนอก ปิดโครงการ
2558การพัฒนาสายพันธุ์ต้านทานโรคใบด่าง พันธุ์ที่มีปริมาณและคุณภาพแป้งสูง และพันธุ์ที่มีปริมาณคาโรทีนอยสูง โดยใช้เชื้อพันธุกรรมมันสำปะหลังร่วมกับเครื่องหมายดีเอ็นเอสนิป หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2558การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อผลผลิตและปริมาณแป้งในหัว ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2558การคัดเลือกพันธุ์มันสำปะหลังที่เหมาะสมเพื่อผลิตในพื้นที่เขตฝนทิ้งช่วงในภาคตะวันตกของประเทศไทย ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2558การพัฒนาเทคโนโลยีการปลูกข้าวข้าวดอกมะลิ 105 และการคัดเลือกพันธุ์ข้าวคุณลักษณะเฉพาะสำหรับศูนย์วิจัยและพัฒนาอาชีพเพนียด ผู้ร่วมวิจัย เงินรายได้ส่วนกลาง มก. ภายใน ปิดโครงการ
2557การพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมเดี่ยวให้ต้านทานต่อโรคราน้ำค้าง ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2557การประเมินและพัฒนาเชื้อพันธุ์มันสำปะหลังให้ต้านทานต่อแมลงหวี่ขาว และโรคใบด่างมันสำปะหลังเพื่อรับมือการระบาดในอนาคต หัวหน้าโครงการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายนอก ปิดโครงการ
2557การประเมินความดีเด่นเหนือพ่อแม่ของลูกผสมชั่วที่ 1 ระหว่างข้าวกลุ่มอินดิกากับข้าวกลุ่มอื่น หัวหน้าโครงการ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) ภายนอก ปิดโครงการ
2557การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อเพิ่มผลิตภาพทางผลผลิตและปริมาณแป้งสำหรับการใช้ในอุตสาหกรรม ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายนอก ปิดโครงการ
2557การปรับปรุงพันธุ์ข้าวลูกผสมเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพสำหรับการแปรรูปเชิงอุตสาหกรรม ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) ภายนอก ปิดโครงการ
2557อิทธิพลของการใช้สารโคชิซีนต่อการเปลี่ยนแปลงฐานพันธุกรรม ลักษณะทางสรีรวิทยา ผลผลิต และคุณภาพเชิงพลังงานของชีวมวลหญ้าเนเปียร์ ผู้ร่วมวิจัย ทุนการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา “ทุน 72 ปี มก.” ภายใน ปิดโครงการ
2556การปรับปรุงฐานพันธุกรรมมันสำปะหลัง เพื่อต้านทานเพลี้ยแป้งและผลผลิตสูง ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2556เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังในเขตฝนทิ้งช่วงภาคตะวันตกของประเทศไทย ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2556การเติบโตและลักษณะประจำพันธุ์ของหญ้านวลน้อย (Zoysia matrella) ผู้ร่วมวิจัย บริษัท QGI International Products Co., Ltd. ภายนอก ปิดโครงการ
2555การประเมินและพัฒนาเชื้อพันธุ์มันสำปะหลังให้ต่้านทานต่อแมลงหวี่ขาวและโรคใบด่างมันสำปะหลัง เพื่อรับมือการระบาดในอนาคต หัวหน้าโครงการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายนอก ปิดโครงการ
2555การปรับปรุงพันธุ์งาผลผลิตสูงให้ฝักต้านทานการแตกและมีสารลิกแนนสูง ผู้ร่วมวิจัย สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ภายนอก ปิดโครงการ
2555โครงการที่ปรึกษาทางการเกษตรเพื่อประเมินการผลิตมันสำปะหลังของบริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด ผู้ร่วมวิจัย บริษัท ไทยออยล์เอทานอลจำกัด ภายนอก ปิดโครงการ
2555การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลัง เพื่อการจัดการศัตรูพืช การบริโภค และอุตสาหกรรม ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ภายนอก ปิดโครงการ
2555ศักยภาพและสมรรถนะการผสมของพันธุ์ถั่วลิสงในประเทศไทย ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน ปิดโครงการ
2554การใช้ Bulked Segregant Analysis ร่วมกับโมเลกุลเครื่องหมายชนิด AFLP เพื่อหาความสัมพันธ์กับยีนควบคุมลักษณะฝักไม่แตกในงา หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2554การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลัง ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน ปิดโครงการ
2553Association mapping of downy mildew resistance in elite maize inbred lines in Thailand หัวหน้าโครงการ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ภายนอก ปิดโครงการ
2553โครงการการเพิ่มขยายจำนวนแตนเบียนเพื่อควบคุมเพลี้ยแป้งสีชมพู ผู้ร่วมวิจัย คณะเกษตร มก. ภายใน ปิดโครงการ
2552การสร้างดีเอ็นเอเครื่องหมายชนิด Microsatellite สำหรับสบู่ดำ หัวหน้าโครงการ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ภายนอก ปิดโครงการ
2552โครงการพัฒนามันสำปะหลังพันธุ์ waxy ผู้ร่วมวิจัย มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ภายนอก ปิดโครงการ
2550Association mapping of downy mildew resistance in elite maize inbred lines in Thailand. หัวหน้าโครงการ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ภายนอก ปิดโครงการ

Scopus h-Index : 12

Year Document title Authors Source Cited by
2567 Comparing different statistical models for association mapping and genomic prediction of fruit quality traits in tomato Prateep-Na-Thalang N., Prateep-Na-Thalang N., Tongyoo P., Tongyoo P., Phumichai C., Duangjit J., Duangjit J. Scientia Horticulturae
327
0
2566 Yield and nutritional properties of improved red pericarp Thai rice varieties Yamsaray M., Yamsaray M., Sreewongchai T., Phumichai C., Chalermchaiwat P. ScienceAsia
49(2),pp. 155-160
0
2564 Genome-wide association mapping and genomic prediction of yield-related traits and starch pasting properties in cassava Phumichai C., Phumichai C., Phumichai C., Aiemnaka P., Nathaisong P., Hunsawattanakul S., Hunsawattanakul S., Hunsawattanakul S., Fungfoo P., Rojanaridpiched C., Vichukit V., Kongsil P., Kittipadakul P., Wannarat W., Chunwongse J., Tongyoo P., Kijkhunasatian C., Chotineeranat S., Piyachomkwan K., Wolfe M.D., Jannink J.L., Sorrells M.E. Theoretical and Applied Genetics
3
2564 The effects of sulfur, calcium, boron and zinc on leaf characteristics and fresh fruit bunch yield of oil palm (Surat thani 2 var.) in acid sulfate soil Taupik N.H.M., Rungmekarat S., Kongsil P., Phumichai C., Keawsaard Y. Science and Technology Asia
26(3),pp. 196-208
1
2563 Genetic variability of eggplant germplasm evaluated under open field and glasshouse cropping conditions Mat Sulaiman N.N., Rafii M.Y., Duangjit J., Ramlee S.I., Phumichai C., Oladosu Y., Datta D.R., Musa I. Agronomy
10(3)
20
2563 Estimation of genetic parameters for rubber yield and girth growth in a synthetic population Suwanchana S., Phumichai C., Jenweerawat S., Koonawootrittriron S., Phumichai T., Teerawatnasuk K. Agriculture and Natural Resources
54(6),pp. 603-608
0
2562 Identifying a DELLA gene as a height controlling gene in oil palm Somyong S., Walayaporn K., Walayaporn K., Jomchai N., Hassan S.H., Hassan S.H., Yodyingyong T., Phumichai C., Limsrivilai A., Saklang A., Suvanalert S., Sonthirod C., Laurensia Danis Anggradita , Laurensia Danis Anggradita , Tangphatsornruang S. Chiang Mai Journal of Science
46(1),pp. 32-45
4
2561 Transcriptome analysis of oil palm inflorescences revealed candidate genes for an auxin signaling pathway involved in parthenocarpy Somyong S., Walayaporn K., Walayaporn K., Jomchai N., Naktang C., Yodyingyong T., Phumichai C., Pootakham W., Tangphatsornruang S. PeerJ
2018(12)
6
2560 Identification of a scar marker linked to a shattering resistance trait in sesame Phumichai C., Matthayatthaworn W., Chuenpom N., Wongkaew A., Somsaeng P., Yodyingyong T., Panklang P., Jenweerawat S., Keawsaard Y., Phumichai T., Sreewongchai T., Kaveeta R. Turkish Journal of Field Crops
22(2),pp. 258-265
5
2560 Changing of morphological characteristic and biomass properties in Pennisetum purpureum by colchicine treatment Kamwean P., Chaisan T., Thobunluepop P., Phumichai C., Bredemeier M. Journal of Agronomy
16(1),pp. 23-31
4
2559 Path analysis of agronomic traits of Thai cassava for high root yield and low cyanogenic glycoside Kongsil P., Kittipadakul P., Phumichai C., Lertsuchatavanich U., Petchpoung K. Pertanika Journal of Tropical Agricultural Science
39(2),pp. 197-218
2
2558 Novel Chloroplast Microsatellite (cpSSR) Markers for Genetic Diversity Assessment of Cultivated and Wild Hevea Rubber Phumichai C., Phumichai C., Phumichai T., Wongkaew A., Wongkaew A., Wongkaew A. Plant Molecular Biology Reporter
33(5),pp. 1486-1498
33
2558 Variability in chemical and mechanical properties of Pará rubber (Hevea brasiliensis) trees Riyaphan J., Phumichai T., Neimsuwan T., Witayakran S., Sungsing K., Kaveeta R., Phumichai C. ScienceAsia
41(4),pp. 251-258
14
2558 Development of di-nucleotide microsatellite markers and construction of genetic linkage map in mango (Mangifera indica L.) Chunwongse C., Chunwongse C., Phumichai C., Tongyoo P., Tongyoo P., Juejun N., Juejun N., Chunwongse J., Chunwongse J., Chunwongse J. Songklanakarin Journal of Science and Technology
37(2),pp. 119-127
5
2558 Evaluation of rice genotypes for resistance to brown planthopper (Nilaparvata lugens stål) populations from the central region of Thailand Sreewongchai T., Worede F., Worede F., Phumichai C., Sripichitt P. Kasetsart Journal - Natural Science
49(4),pp. 506-515
1
2557 Multivariate analysis of genetic diversity among some rice genotypes using morpho-agronomic traits Worede F., Worede F., Sreewongchai T., Phumichai C., Sripichitt P. Journal of Plant Sciences
9(1),pp. 14-24
12
2557 Assessment of genetic diversity and population structure in jute (corchorus spp.) using simple sequence repeat (SSR) and amplified fragment length polymorphism (AFLP) markers Ghosh R., Wongkaew A., Sreewongchai T., Nakasathien S., Phumichai C. Kasetsart Journal - Natural Science
48(1),pp. 83-94
10
2557 Detection of candidate R genes and single nucleotide polymorphisms for downy mildew resistance in maize inbred lines by association analysis Wongkaew A., Phumichai C., Chunwongse J., Jampatong S., Grudloyma P., Pulam T., Doungchan W. Euphytica
197(1),pp. 109-118
4
2557 Introgression of gene for non-pollen type thermo-sensitive genic male sterility to thai rice cultivars Tanee S., Weerachai M., Chalermpol P., Prapa S. Rice Science
21(2),pp. 123-126
4
2556 Phenotypic variation and the relationships among jute (Corchorus species) genotypes using morpho-agronomic traits and multivariate analysis Ghosh R., Sreewongchai T., Nakasathien S., Phumichai C. Australian Journal of Crop Science
7(6),pp. 830-842
19
2556 Evaluation of salt tolerance of jute (Corchorus spp.) genotypes in hydroponics using physiological parameters Ghosh R., Phumichai T., Sreewongchai T., Nakasathien S., Phumichai C. Asian Journal of Plant Sciences
12(4),pp. 149-158
10
2556 Microsatellite paternity analysis used for evaluation of Outcrossing rate among five Hevea rubber clones in a systematic seed orchard Pawsoi N., Phumichai T., Teerawatanasuk K., Wongkaew A., Phumichai C. Kasetsart Journal - Natural Science
47(3),pp. 407-415
3
2555 Molecular characterization of a spontaneous waxy starch mutation in cassava Aiemnaka P., Wongkaew A., Chanthaworn J., Nagashima S.K., Boonma S., Authapun J., Jenweerawat S., Kongsila P., Kittipadakul P., Nakasathien S., Sreewongchai T., Wannarat W., Vichukit V., López-Lavalle L.A.B., Ceballos H., Rojanaridpiched C., Phumichai C. Crop Science
52(5),pp. 2121-2130
28
2555 Detection and integration of gene mapping of downy mildew resistance in maize inbred lines though linkage and association Phumichai C., Chunwongse J., Jampatong S., Grudloyma P., Pulam T., Doungchan W., Wongkaew A., Kongsiri N. Euphytica
187(3),pp. 369-379
12
2554 Isolation of 55 microsatellite markers for Jatropha curcas and its closely related species Phumichai C., Phumichai T., Kongsiri N., Wongkaew A., Sripichit P., Kaveeta R. Biologia Plantarum
55(2),pp. 387-390
16
2554 Cross-genera transferability of (simple sequence repeat) SSR markers among cassava (Manihotesculenta crantz), rubber tree (Hevea brasiliensis muell. Arg.) and physic nut (Jatropha curcas L.) Whankaew S., Kanjanawattanawong S., Phumichai C., Smith D., Narangajavana J., Triwitayakorn K. African Journal of Biotechnology
10(10),pp. 1768-1776
12
2554 Development of specific simple sequence repeat (SSR) markers for non-pollen type thermo-sensitive genic male sterile gene in rice (Oryza sativa L.) Matthayatthaworn W., Sripichitt P., Phumichai C., Rungmekarat S., Uckarach S., Sreewongchai T. African Journal of Biotechnology
10(73),pp. 16437-16442
9
2552 Evaluation of soybean [glycine max (L.) merrill] germplasm for field weathering resistance using seed quality and SCAR markers Pa Win N., Sripichitt P., Chanprasert W., Hongtrakul V., Phumichai C. Kasetsart Journal - Natural Science
43(4),pp. 629-641
3
2551 SSR-based and grain yield-based diversity of hybrid maize in Thailand Phumichai C., Doungchan W., Puddhanon P., Jampatong S., Grudloyma P., Kirdsri C., Chunwongse J., Pulam T. Field Crops Research
108(2),pp. 157-162
26
2549 Cryptic improvement for fertility by continuous selfing of diploid potatoes using Sli gene Phumichai C., Hosaka K. Euphytica
149(1-2),pp. 251-258
15
2549 Expression of S-locus inhibitor gene (Sli) in various diploid potatoes Phumichai C., Ikeguchi-Samitsu Y., Fujimatsu M., Kitanishi S., Kobayashi A., Mori M., Hosaka K. Euphytica
148(3),pp. 227-234
13
2548 Toward the development of highly homozygous diploid potato lines using the self-compatibility controlling Sli gene Phumichai C., Mori M., Kobayashi A., Kamijima O., Hosaka K. Genome
48(6),pp. 977-984
43
2543 Molecular mapping of mango cultivars Alphonso' and 'Palmer' Chunwongse J., Phumichai C., Chunwongse C., Sukonsawan S., Boonreungrawd R., Babprasert C. Acta Horticulturae
509,pp. 193-206
11