รศ. ดร.ภัศจี คงศีล

รองหัวหน้าภาคฝ่ายแผนงานและวิจัย
ความเชียวชาญ : การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อลักษณะสำหรับการบริโภคและทนทานต่อสภาพแวดล้อมเครียด เทคโนโลยีชีวภาพ การศึกษาระดับการแสดงออกของยีน ,
ประวัติการศึกษา:
  • Ph.D. (Agronomy), Purdue University, USA, 2553
  • วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพ) เกียรตินิยมอันดับ 1, มหาวิทยาลัยมหิดล, ไทย, 2547

ผลงานวิชาการ

ปี พ.ศ. โครงการ บทบาท แหล่งทุน ประเภท สถานะ
2566ศูนย์กลางการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์เกษตรสมัยใหม่สำหรับผลผลิตการเกษตรมูลค่าสูง ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2566การใช้เทคโนโลยีมัลติโอมิกส์สำหรับวิจัยความต้านทานต่อเชื้อไวรัสใบด่างในมันสำปะหลัง ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2565การปรับปรุงพันธุ์ การปลูก และการใช้ประโยชน์กัญชา และการพัฒนาเทคโนโลยีฐานการผลิตและสกัดสารกัญชา ผู้ร่วมวิจัย บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) ภายนอก อยู่ระหว่างดำเนินการ
2565การพัฒนาวิธีการตรวจวัดและชุดทดสอบปริมาณไซยาไนด์ในมันสำปะหลังแบบพกพาด้วยแผ่นเทียบสีและภาพถ่ายดิจิทัล ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2565ระบบแพลตฟอร์มสนับสนุนการปลูกมันสำปะหลังแบบองค์รวมเพื่อการเกษตรที่ยั่งยืน ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2565การศึกษากลไกการป้องกันตนเองของมันสำปะหลังที่ถูกกระตุ้นด้วยเชื้อไวรัส Sri Lankan Cassava Mosaic Virus ด้วยเทคโนโลยี RNAseq ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2565การศึกษาปฏิสัมพันธ์ของมันสำปะหลังและ Sri Lankan cassava mosaic virus ต่อการสร้างฮอร์โมนพืช ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2564โครงการการวิจัยและพัฒนาระบบสนับสนุนการปลูกอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและคุณภาพของมันสำปะหลัง ผู้ร่วมวิจัย กองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ภายนอก ปิดโครงการ
2564การประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของกระท่อม (Mitragyna speciosa (Korth.) Havil.) ในประเทศไทยโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลสนิปร่วมกับลักษณะสัณฐานวิทยา หัวหน้าโครงการ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) ภายใน ปิดโครงการ
2564การใช้ข้อมูลพันธุกรรมเพื่อปรับปรุงพันธุ์และการพัฒนาเสถียรภาพของสารสกัดดีปลีสำหรับควบคุมหนอนกระทู้ ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) ภายใน ปิดโครงการ
2564การปรับปรุงพันธ์ดีปลีเพื่อเพิ่มผลผลิตและสารออกฤทธิ์ในการควบคุมหนอนกระทู้ ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) ภายใน ปิดโครงการ
2563การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชหัวสกุลกลอย (Dioscorea sp.) เพื่อความมั่นคงทางอาหาร หัวหน้าโครงการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายใน ปิดโครงการ
2563แผนงานการพัฒนาพันธุ์อ้อยใหม่เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อย หัวหน้าโครงการ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ภายใน ปิดโครงการ
2563การรวบรวมพันธุ์และประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของดีปลี (Piper retrofractum) ในประเทศไทยเพื่อการปรับปรุงพันธุ์และการใช้ประโยชน์ในอนาคต ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) ภายใน ปิดโครงการ
2562การทดสอบพันธุ์และประเมินเสถียรภาพสายพันธุ์ KUC50-17-3 และ KUC51-13-99 เพื่อขอจดทะเบียนและออกพันธ์ุใหม่ พร้อมแนะนำพันธุ์การค้าที่เหมาะสมกับพื้นที่ทดสอบ ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายใน ปิดโครงการ
2562การพัฒนาปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังแนวใหม่ด้วยสายพันธุ์อินเบรดชั่วเริ่มต้นการสร้างลูกผสมเฮทเทอโรซิส และเทคโนโลยีทางจีโนม ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายใน ปิดโครงการ
2562การประเมินเชื้อพันธุกรรมมันสำปะหลังและมันสำปะหลังลูกผสมเพื่อคัดเลือกพันธุ์มีศักยภาพทนแล้งและทนน้ำท่วมในกระถางและแปลงทดสอบพันธุ์ หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2562การประเมินเชื้อพันธุกรรมมันสำปะหลังและมันสำปะหลังลูกผสมเพื่อคัดเลือกพันธุ์มีศักยภาพทนแล้งด้วยเทคนิคการคัดเลือกในหลอดทดลอง ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2562การผสมพันธุ์และคัดเลือกสายพันธุ์มันสำปะหลังให้มีศักยภาพทนแล้งและทนน้ำท่วมขัง ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2562การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อศักยภาพทนแล้งและทนน้ำท่วมขัง หัวหน้าโครงการ
หัวหน้าโครงการย่อย
ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2562การชักนำการออกดอกในมันสำปะหลังเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังแบบแม่นยำ หัวหน้าโครงการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายนอก ปิดโครงการ
2560การประเมินเชื้อพันธุกรรมมันสำปะหลังและมันสำปะหลังลูกผสมเพื่อคัดเลือกพันธุ์มีศักยภาพทนแล้งและทนน้ำท่วมในกระถางและแปลงทดสอบพันธุ์The evaluation of cassava germplasm and cassava hybrids for drought and water logging tolerance potential in pot and field screening หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2560การประเมินและคัดเลือกพันธุ์มันสำปะหลังที่มีคุณภาพสำหรับการบริโภคที่ดีและผลผลิตสูง ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2560การประเมินเชื้อพันธุกรรมมันสำปะหลังและมันสำปะหลังลูกผสมเพื่อคัดเลือกพันธุ์มีศักยภาพทนแล้งด้วยเทคนิคการคัดเลือกในหลอดทดลองThe evaluation of cassava germplasm and cassava hybrids for drought tolerant trait using in vitro assay ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2560การปรับปรุงพันธ์ุมันสำปะหลังให้มีไซยาไนต์ต่ำและผลผลิตสูงสำหรับใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหาร หัวหน้าโครงการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายนอก ปิดโครงการ
2560การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังให้มีไซยาไนต์ต่ำและผลผลิตสูงสำหรับใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหาร หัวหน้าโครงการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายนอก ปิดโครงการ
2560การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังอย่างมียุทธศาสตร์ เพื่อเพิ่มผลิตภาพทางผลผลิตและปริมาณแป้งสำหรับการใช้อุตสาหกรรม ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายนอก ปิดโครงการ
2560การประเมินและการเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้เชื้อพันธุกรรมมันสำปะหลังเพื่อเพิ่มความก้าวหน้าของการปรับพันธ์ุมันสำปะหลัง ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายนอก ปิดโครงการ
2560การประเมินพันธุ์มันสำปะหลัง สูตรปุ๋ย และจำนวนครั้งในการเก็บเกี่ยวผลผลิตใบมันสำปะหลังในสองฤดูปลูก เพื่อเป็นอาหารสัตว์และผลผลิตหัวมันสำปะหลัง (ปีที่ 2) ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายนอก ปิดโครงการ
2559ผลของการใช้สารกลูตาไธโอนต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของมันสำปะหลังในประเทศไทย หัวหน้าโครงการ บริษัท Kaneka Corporation ภายนอก ปิดโครงการ
2559โครงการการประเมินพันธุ์มันสำปะหลัง สูตรปุ๋ย และจำนวนครั้งในการเก็บเกี่ยวผลผลิตใบมันสำปะหลังในสองฤดูปลูก เพื่อเป็นอาหารสัตว์และผลผลิตหัวมันสำปะหลัง ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายนอก ปิดโครงการ
2558การพัฒนาระบบสนับสนุนการสร้างความเข้มแข็งกลุ่มวิชาการและวิจัย คณะเกษตร (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) ผู้ร่วมวิจัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภายใน ปิดโครงการ
2558ประเมินกลไกในการสะสมแป้งที่รากของมันสำปะหลังเพื่อการจัดการเขตกรรมที่เหมาะสมสำหรับในเขตฝนทิ้งช่วงภาคตะวันตกของประเทศไทย หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2558เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังในเขตฝนทิ้งช่วงภาคตะวันตกของประเทศไทย ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2558การคัดเลือกพันธุ์มันสำปะหลังที่เหมาะสมเพื่อผลิตในพื้นที่เขตฝนทิ้งช่วงในภาคตะวันตกของประเทศไทย ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2558การพัฒนาสายพันธุ์ต้านทานโรคใบด่าง พันธุ์ที่มีปริมาณและคุณภาพแป้งสูง และพันธุ์ที่มีปริมาณคาโรทีนอยสูง โดยใช้เชื้อพันธุกรรมมันสำปะหลังร่วมกับเครื่องหมายดีเอ็นเอสนิป ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ภายใน อยู่ระหว่างดำเนินการ
2557การทดสอบประสิทธิภาพของสารกลูตาไทโอน ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของมันสำปะหลังในประเทศไทย หัวหน้าโครงการ บริษัท Kaneka Corparation ภายนอก ปิดโครงการ
2557การตอบสนองทางสรีรวิทยาที่สัมพันธ์กับการจัดการน้ำและปุ๋ย เพื่อเพิ่มผลิตภาพของมันสำปะหลัง ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายนอก ปิดโครงการ
2557การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อเพิ่มผลิตภาพทางผลผลิตและปริมาณแป้งสำหรับการใช้ในอุตสาหกรรม ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายนอก ปิดโครงการ
2555การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังให้มีไซยาไนด์ต่ำและผลผลิตสูงสำหรับใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหาร หัวหน้าโครงการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายนอก ปิดโครงการ
2555โครงการที่ปรึกษาทางการเกษตรเพื่อประเมินการผลิตมันสำปะหลังของบริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จำกัด ผู้ร่วมวิจัย บริษัท ไทยออยล์เอทานอลจำกัด ภายนอก ปิดโครงการ
2555การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลัง เพื่อการจัดการศัตรูพืช การบริโภค และอุตสาหกรรม ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ภายนอก ปิดโครงการ
2554การศึกษาการเปลี่ยนแปลงในการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับเมแทบอลิซึมของไขมันในเมล็ดข้าวโพด หัวหน้าโครงการ ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตรแห่งชาติ ภายใน ปิดโครงการ

Scopus h-Index : 4

Year Document title Authors Source Cited by
2567 Growth and Physiological Responses of Maize (Zea mays L.) under Drought Stress at Different Development Stages Pongtip A., Thobunluepop P., Nakasathien S., Kongsil P., Sarobol E., Chitbanchong W., Pawelzik E. Journal of Current Science and Technology
14(1)
0
2566 Iron toxicity downregulates root-proton efflux and decreases zinc accumulation in cassava Armatmontree C., Leksungnoen P., Nansahwang A., Nansahwang A., Aramrak S., Kongsil P., Wisawapipat W. Annals of Agricultural Sciences
68(1),pp. 97-104
0
2566 Identification of important morphology for waterlogging tolerance from developed mung bean F2 population Thongthip N., Kongsil P., Somta P., Chaisan T. Chilean Journal of Agricultural Research
83(2),pp. 236-247
0
2565 Phosphate mineral solubility controls on cassava root exudates, rhizosphere nutrient availability, and plant nutrient accumulation Nansahwang A., Nansahwang A., Leksungnoen P., Armatmontree C., Aramrak S., Kongsil P., Wisawapipat W. Rhizosphere
23
2
2565 Triggering root proton efflux as an aluminum-detoxifying mechanism in cassava Punpom T., Leksungnoen P., Aramrak S., Kongsil P., Wisawapipat W. Annals of Agricultural Sciences
67(2),pp. 173-180
1
2565 Correlation Between Relative Gene Expression Patterns of Two Flowering locus T (MeFT1 and MeFT2) in Cassava Leaf and Flowering Traits Under Different Flowering Induction Conditions Leelawijitkul S., Kongsil P., Kittipadakul P., Juntawong P. Pakistan Journal of Biological Sciences
25(5),pp. 369-379
0
2564 Waterlogging tolerance and recovery in canopy development stage of cassava (Manihot esculenta crantz) Kerddee S., Kongsil P., Nakasathien S. Agrivita
43(2),pp. 233-244
3
2564 Genome-wide association mapping and genomic prediction of yield-related traits and starch pasting properties in cassava Phumichai C., Phumichai C., Phumichai C., Aiemnaka P., Nathaisong P., Hunsawattanakul S., Hunsawattanakul S., Hunsawattanakul S., Fungfoo P., Rojanaridpiched C., Vichukit V., Kongsil P., Kittipadakul P., Wannarat W., Chunwongse J., Tongyoo P., Kijkhunasatian C., Chotineeranat S., Piyachomkwan K., Wolfe M.D., Jannink J.L., Sorrells M.E. Theoretical and Applied Genetics
3
2564 Comparison of grain processing techniques on saponin content and nutritional value of quinoa (Chenopodium quinoa cv. yellow pang-da) grain Tumpaung R., Thobunluepop P., Kongsil P., Onwimol D., Lertmongkol S., Sarobol E., Chitbanchong W., Pawelzik E. Pakistan Journal of Biological Sciences
24(7),pp. 821-829
2
2564 The effects of sulfur, calcium, boron and zinc on leaf characteristics and fresh fruit bunch yield of oil palm (Surat thani 2 var.) in acid sulfate soil Taupik N.H.M., Rungmekarat S., Kongsil P., Phumichai C., Keawsaard Y. Science and Technology Asia
26(3),pp. 196-208
1
2564 Phenotypic Diversity of Root Characteristics in Recombinant Inbred Lines of Cross Between Lowland and Highland Rice Varieties for Drought Tolerance Potential Ei Phyo E., Sreewongchai T., Kongsil P. Pakistan journal of biological sciences : PJBS
24(11),pp. 1152-1161
0
2564 Evaluation of manihot glaziovii scion-cassava understock grafting for cassava growth and root yield during rainy and dry seasons Bangthong P., Vuttipongchaikij S., Kongsil P., Ceballos H., Ceballos H., Kittipadakul P. Journal of Crop Improvement
0
2563 Cassava breeding and agronomy in Asia: 50 years of history and future directions Malik A.I., Kongsil P., Nguyễn V.A., Ou W., Sholihin , Srean P., Sheela M.N., López-Lavalle L.A.B., Utsumi Y., Utsumi Y., Cheng C., Kittipadakul P., Nguyễn H.H., Ceballos H., Nguyễn T.H., Gomez M.S., Aiemnaka P., Labarta R., Chen S., Amawan S., Sok S., Youabee L., Seki M., Seki M., Tokunaga H., Tokunaga H., Wang W., Li K., Nguyễn H.A., Nguyễn V.Đ., Hàm L.H., Ishitani M., Ishitani M. Breeding Science
70(2),pp. 145-166
46
2563 Potential yield and cyanogenic glucoside content of cassava root and pasting properties of starch and flour from cassava Hanatee var. And breeding lines grown under rain-fed condition Chaengsee P., Kongsil P., Siriwong N., Kittipadakul P., Piyachomkwan K., Petchpoung K. Agriculture and Natural Resources
54(3),pp. 237-244
4
2563 Marker-assisted pseudo-backcross breeding for improvement of amylose content and aroma in Myanmar rice cultivar Sinthukha Cho K.S., Kongsil P., Wangsawang T., Wangsawang T., Sreewongchai T. ScienceAsia
46(5),pp. 539-547
2
2562 Ethanol production and mitochondrial-related gene expression of maize (Zea mays) seed during storage Chaengsakul C., Chaengsakul C., Chaengsakul C., Onwimol D., Onwimol D., Onwimol D., Kongsil P., Suwannarat S. Journal of Integrative Agriculture
18(11),pp. 2435-2445
7
2562 Development of rice introgression lines with brown planthopper resistance and low amylose content for germplasm sources through marker-assisted selection Sansanoh R., Sreewongchai T., Changsri R., Kongsil P., Wangsawang T., Sripichitt P. Agriculture and Natural Resources
53(1),pp. 38-43
1
2559 Path analysis of agronomic traits of Thai cassava for high root yield and low cyanogenic glycoside Kongsil P., Kittipadakul P., Phumichai C., Lertsuchatavanich U., Petchpoung K. Pertanika Journal of Tropical Agricultural Science
39(2),pp. 197-218
2
2558 Effect of genotype, age and soil moisture on cyanogenic glycosides content and root yield in cassava (Manihot esculenta Crantz) Srihawong W., Kongsil P., Petchpoung K., Sarobol E. Kasetsart Journal - Natural Science
49(6),pp. 844-855
3
2557 A preliminary study on expression of zinc transporter gene of cassava grown in nutrient solutions with some physiological and biochemical responses Khongchiu P., Vichukit V., Kongsila P., Kermanee P., Wongkeaw A., Nakasathien S. Kasetsart Journal - Natural Science
48(4),pp. 515-524
0
2555 Molecular characterization of a spontaneous waxy starch mutation in cassava Aiemnaka P., Wongkaew A., Chanthaworn J., Nagashima S.K., Boonma S., Authapun J., Jenweerawat S., Kongsila P., Kittipadakul P., Nakasathien S., Sreewongchai T., Wannarat W., Vichukit V., López-Lavalle L.A.B., Ceballos H., Rojanaridpiched C., Phumichai C. Crop Science
52(5),pp. 2121-2130
28